ไม่สามารถลดระดับของสมรรถนะที่คาดหวังให้ต่ำกว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด เนื่องจากระดับความคาดหวังที่มหาวิทยาลัยกำหนด เป็นความคาดหวังขั้นต่ำที่บุคลากรรต้องมีในระดับของตน และเป็นการประเมินสมรรถนะเพื่อใช้ในการพัฒนา โดยหัวหน้าควรพูดคุยและทำความเข้าใจถึงภาระงาน และกำหนดหัวข้อสมรรถนะที่สนับสนุนภาระงานนั้น ๆ รวมถึงการติดตาม และให้คำแนะนำพนักงานเป็นระยะๆ รวมถึงส่งบุคลากรไปพัฒนาในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้พนักงานสามารถแสดงออกถึงระดับที่คาดหวังขั้นต่ำตามที่กำหนดTeam (ทีม) หมายถึง กลุ่มบุคคลที่ต้องประสานงาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้ข้อมูลร่วมกัน เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายทั้งงานของตนเองและผู้อื่น ซึ่งไม่จำเป็นว่างานนั้นต้องเป็นงานที่ถูกมอบหมายจากการแต่งตั้ง หรือจากหัวหน้า ให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นหัวหน้าและลูกน้อง มีบทบาทสำคัญในการกำหนดแผนพัฒนาร่วมกัน โดยพิจารณาทั้งในด้านความต้องการในการเติบโตในอาชีพ (Career) และวิสัยทัศน์ขององค์กร จากนั้นหารือเพื่อระบุเป้าหมายของการพัฒนา เครื่องมือ และวิธีการที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล รวมถึงกำหนดกรอบระยะเวลาในการพัฒนา โดยกำหนดจำนวนสมรรถนะในแผนการพัฒนาประมาณ 1- 2 ตัวต่อปี เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อเกิดปัญหาในการทำงาน เราสามารถนำข้อมูลที่เคยรวบรวมและจัดเก็บไว้ของปัญหานั้นๆ(กระบวนการหนึ่งของการจัดการความรู้) มาช่วยในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ทำให้ปัญหาถูกแก้ไขอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างยั่งยืนมีทั้งหมด 5 ขั้น ดังนี้
จัดทดสอบ ครั้งที่ 1 เดือนพฤษภาคม และ ครั้งที่ 2 เดือนพฤศจิกายน ของทุกปีจัดอบรม
จัดทดสอบ ครั้งที่ 1 เดือนมิถุนายน และ ครั้งที่ 2 เดือนธันวาคม ของทุกปีจัดอบรม
KMUTT PSF – Learning and Teaching คือ กรอบมาตรฐานวิชาชีพของอาจารย์ผู้สอน มีทั้งหมด 4 ระดับ เรียงตามลำดับดับดังนี้ 1) Beginner 2) Competent 3) Proficient 4) Masteryเกณฑ์ที่ใช้บอกระดับความสามารถของอาจารย์ประกอบไปด้วย 3 โดเมน คือ
เพื่อพัฒนาพนักงานใหม่สายวิชาการให้มีสมรรถนะเบื้องต้นของผู้สอนตามกรอบ KMUTT PSF ในมิติของการเรียนรู้หลักการที่จะเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียน มีความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบแผน การสอนที่สนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา และการบริหารจัดการชั้นเรียนเบื้องต้น รวมทั้งวัดประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
เอกสารประกอบการพิจารณา | ประชุม/สัมมนา | ดูงาน/ เจรจา ความร่วมมือ | ฝึกอบรม | ปฏิบัติ การวิจัย | เสนอผลงาน ทางวิชาการ | อื่นๆ |
---|---|---|---|---|---|---|
1. หนังสือเชิญจากหน่วยงานภายนอก | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ||
2. หนังสือตอบรับจากหน่วยงานภายนอก (Invitation Letter) | ✔ | ✔ | ✔ | |||
3. รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม (ถ้ามี) | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | |
4. กำหนดการ (agenda) | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | |
5. ผลงานที่มีชื่อของผู้ขออนุมัติ (paper/abstract) | ✔ | |||||
6. รายละเอียดค่าใช้จ่ายที่หน่วยงานภายในและภายนอกสนับสนุน | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
7. ใบขออนุมัติโครงการศึกษาดูงานต่างประเทศและงบประมาณ จากสำนักงานยุทธศาสตร์ | ✔ | |||||
8. แบบฟอร์มรายละเอียดการได้รับทุน (กรณีเดินทางเกิน 30 วัน) | ✔ | ✔ | ||||
9. เหตุผลความจำเป็นและการมอบหมายภาระงาน (กรณีเดินทางเกิน 30 วัน) | ✔ | ✔ |
ลูกจ้างมหาวิทยาลัยไม่สามารถทำหนังสือเดินทางราชการได้ หนังสือเดินทางราชการจะออกให้กับข้าราชการ และพนักงาน โดยจะต้องเตรียมเอกสารประกอบการทำหนังสือเดินทางราชการ ดังนี้
บุคลากรประเภทลูกจ้างมหาวิทยาลัย สามารถลาศึกษาได้เฉพาะหลักสูตรนอกเวลาปฏิบัติงาน โดยสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์ม “ขออนุญาตไปสมัครสอบ”เพื่อกรอกและส่งให้เจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคลตรวจสอบคุณสมบัติ และเมื่อผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติแล้ว จึงดาวน์โหลดแบบฟอร์ม “ขอลาศึกษาหลักสูตรนอกเวลาปฏิบัติงาน” มากรอกพร้อมแนบหลักฐานตามที่ระบุส่งมายังสำนักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อดำเนินการเสนอเรื่องให้อธิการบดีทราบต่อไปต้องทำสัญญา และคิดคำนวณจากการนับชั่วโมงทั้งหมดที่ลาไปศึกษาออกมาเป็นจำนวนวันที่ชดใช้
โครงการพัฒนาภาวะผู้นำ (Leadership) จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการด้านบริหาร และพัฒนาทักษะด้านการบริหารจัดการ โดยเน้นให้เข้าใจสมรรถนะความเป็นผู้นำ 5 ด้าน คือ
แบ่งเป็น 5 ระดับ ตามแผนภาพ ดังนี้